วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556

ผู้จัดทำ



   ด.ญ.   ปาริฉัตร   ขะนอก

ชื่อเล่น   แป้ง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2/1   เลขที่   26

โรงเรียนชุมชนบ้านพุเตย

เกิดเมื่อวันที่  26  พฤศจิกายน   พ.ศ.   2542

สีที่ชอบ   สีม่วง   สีเขียวอ่อน    สีแดง

อาหารที่ชอบ  ข้าวมันไก่

วิชาที่ชอบ  ศิลปะ  คณิต  สังคม

กีฬาที่ชอบ  ตะกร้อ  

ผลไม้ที่ชอบ  แตงโม ข้าวโพด

สัตว์ที่ชอบ  แมว

เพื่อนที่ชอบ

 1.ด.ญ. บุษยมาศ  ขอดคำ

2.  ด.ญ.   ปรียา   รัตนะ

3. ด.ญ. น้ำค้าง  เขียวหวาน

4. ด.ญ.  นิจวิภา  กล้าหาญ

5. ด.ญ.  ศศิธร  หมั่นวงค์


       

โปรแกรม Microsoft Excel 2007







   



สวัสดี  ยินดีต้อนรับเข้าสู่ห้องเรียนโปรแกรม Microsoft Excel
          ใครที่เคยมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเกี่ยวกับตาราง การคิดคำนวณ การทำแผนภูมิต่างๆ ลองมาเรียนรู้ โปรแกรมนี้ดูสิครับ รับรองว่าจะทำให้จัดการงานของเราได้อย่างสบาย
ขึ้นเยอะเลย เนื้อหาเหมาะสมกับบุคคลทั่วไปที่เริ่มใช้โปรแกรมนี้และนักเรียนที่

แนะนำโปรแกรม Excel
          Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ โดยจะเก็บข้อมูลลงในตารางสี่เหลี่ยมที่เรียกว่า เซล (Cell)ที่สามารถนำเอาเซลมาอ้างอิงใส่ในสูตร เพื่อให้โปรแกรมคำนวณหาผลลัพธ์จากข้อมูลที่บันทึกไว้ได
แนะนำหน้าต่างของวินโดว์ Excel
          - ปุ่ม  เรียกว่า “Office Button” แสดงเมนูที่ใช้จัดการไฟล์ทั่วไป เช่น New, Open, Save as, Print และ Publish เป็นต้น
           - Quick Access Toolbar แสดงปุ่มคาสั่งที่ใช้บ่อยๆ โดยค่าเริ่มต้นจะแสดงเครื่องมือ  Save,
Undo ,และ Redo ซึ่งเราสามารถกาหนดเครื่องมือในส่วนนี้เองได้

           - Title bar แสดงชื่อเวิร์กบุ๊คที่ใช้งานอยู่และชื่อโปรแกรม ในที่นี้คือ Microsoft Excel
           - Ribbon เป็นกลุ่มคาสั่งที่เก็บเครื่องมือออกเป็นหมวดหมู่ โดยแสดงเป็นแท็บ แทนที่การเรียกใช้เมนูคาสั่งต่างๆในเวอร์ชั่นก่อนๆ
           - Contextual tabs เป็นแท็บพิเศษที่จะแสดงเมื่อใส่ออบเจ็คลงในเวิร์กชีต เช่น เมื่อแทรก WordArt โปรแกรมจะแสดง Drawing Tool ด้านบนและมีแท็บ Format ที่ใช้สาหรับตั้งค่า WordArt แสดงอยู่ด้านล่าง
           - Worksheet เป็นแผ่นงานมีลักษณะเป็นตาราง สาหรับพิมพ์ข้อความ หรือตัวเลข โดยค่าที่ตั้งไว้เมื่อเข้าใช้โปรแกรมจะมี 3 sheet คือ sheet1,sheet2 และsheet3สามารถ
เพิ่มจำนวนเวิร์กชีตในเวิร์กบุ๊คได้ตามต้องการ
           - View Shortcuts ใช้ดูมุมมองเอกสาร โดยจะแสดงมุมมองของเอกสารในลักษณะต่างๆ
           - Zoom และ Zoom Slider เป็นเครื่องมือย่อ-ขยายหน้าจอ โดยเลือกขนาดตามเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการย่อ-ขยาย หรือเลื่อนสไลเดอร์ที่เครื่องมือ Zoom Slider ตามความต้องการ
การสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่
เวิร์กชีต ( Worksheet )   หรือถ้าเป็นโปรแกรมExcelภาษาไทยจะเรีนกว่า แผ่นงาน ในแผ่นงานจะประกอบด้วยช่องตารางสี่เหลี่ยมจำนวนมากซึ่งมีชื่อเรียกดังต่อไปนี้
 Row ( แถว )                                          คือพื้นที่แถวแนวนอนจากบนลงล่าง ตั้งแต่แถวที่ 1 ไปจนถึง
                                                                 แถวที่ 65536 ชื่อของเถวคือหมายเลขที่แสดงที่หัวแถว
 Column ( คอลัมน์ )                             คือพื้นที่คอลัมน์แนวตั้งจากซ้ายไปขวา จากคอลัมน์ A ไปจนถึง
                                                                 คอลัมน์ IV จะมัทั้งหมด 256 คอลัมน์ ชื่อของคอลัมน์คือ                                                                  ชื่อตัวอักษรที่อยู่บนหัวคอลัมน์ เช่น A, B, C,...
 Cell ( เซล )                                            อยู่ตรงคอลัมน์ B แถวที่ 3 ก็จะเรียกว่าเซล B3                                                                   เซลที่กำลังเลือกหรือกำลังทำงาน เราเรียกเซลนั้นว่า Active cel
            เริ่มใส่ข้อมูล เมื่อเข้าสู่ Excel โปรแกรมจะสร้างเวิร์กบุ๊คใหม่ให้โดยอัติโนมัติพร้อมตั้งชื่อว่า Book1 l
           จัดรูปแบบให้เวิร์กชีต เราสามารถตกแต่งข้อมูลให้น่าสนใจ เช่น เน้นข้อความหัวเรื่องด้วยตัวหนา สีแดง  เพื่อแยกข้อมูลให้ดูแตกต่างกัน
 การเก็บบันทึกเวิรก์บุ๊ค
 1.คลิกปุ่ม ( บันทึก ) หรือกด Ctrl+S จากแป้นพิมพ์
 2.เลือกไดรว์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการเก็บบันทึก
 3.ตั้งชือที่ช่อง File Name ตั้งชื่อได้ยาว 256 ตัวอักษร ยกเว้น\ / * < >!
 4.คลิกที่ปุ่มคำสั่ง บันทึก
การใช้แถบเครื่องมือ
          เครื่องมือใน Excel 2003 ก็จะมีหน้าตาคล้ายๆกับ Office ตัวอื่นๆ ตามปกติจะแสดงเพียง 2 ชุดคือ  แถบเครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) และ Formatting ( จัดรูปแบบ )
           แถบเครื่องมือ Standard ( มาตรฐาน ) มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้บ่อยๆ หรือเป็นการทำงานพื้นฐานของโปรแกรม  เช่น ปุ่ม New , Open
            มีปุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบข้อมูลในเซล เช่น เลือกฟอนต์ ขนาด หรือลักษณะ, จัดข้อมูลชิดขวา ซ้าย และการใส่สีข้อความหรือพื้น ฯลฯ
การเปิดงานเก่ามาใช้งาน
 1. คลิกปุ่ม Open ( เปิด ) หรือกดคีย์ Ctrl+O
 2. คลิกที่ลูกศรซ้ายช่อง Look in ( มองหาใน ) แล้วเลือกไดรว์และดับเบิ้ลคลิกที่โฟลเดอร์ที่เก็บเวิร์กบุ๊กไว้
 3. คลิกที่ชื่อไฟล์เวิร์กบุ๊ค
 4. คลิกที่ปุ่ม ( เปิด )
การแก้ไขข้อมูลในเซล
1. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไข แล้วพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไป
2. คลิกที่เซลที่จะแก้ไข แล้วกดปุ่ม F2 ที่คีย์บอร์ด จะเป็นการแก้ไขในโหมด Edit
3. ดับเบิ้ลคลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไข แล้วเลื่อนเคอร์เซอร์ไปแก้ไขข้อมูลภายในเซลได้
4. คลิกตรงที่เซลที่จะแก้ไขแล้วดูที่แถบสูตรคำนวณ ( formula bar )  แล้วคลิกเมาส์ที่แถบสูตรเลยเพื่อแก้ไข
  ข้อมูล
ลากเมาส์คลุมข้อความที่ต้องการแก้ไข แล้วสามารถพิมพ์ข้อมูลใหม่ลงไปได้ 


มารู้จักกราฟ Excel กันเถอะ
         กราฟ หรือ "ชาร์ต" ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้แสดงข้อมูลที่เป็นตัวเลขได้ชัดเจน และสื่อความหมายมากขึ้น โดยเฉพาะข้อมูลที่ใช้เปรียบเทียบความมากน้อยหรือแสดงแนวโน้วของค่าต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นยอดขายสินค้า รายได้ - รายจ่าย หรือแม้กระทั่งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เป็นต้น
ทำความรู้จักกับกราฟ
ตัวอย่าง
          ตัวอย่างนี้เป็นการสรุปยอดรายจ่ายประจำเดือนมกราคม,กุมภาพันธ์และมีนาคม
1. เลือกกลุ่มข้อมูลที่ต้องการสร้างกราฟ ปกติจะเลือกทั้งส่วนที่เป็นข้อมูล และชื่อแถวหรือคอลัมน์
     ของข้อมูลนั้นด้วย ( ยกเว้นไตเติล )
2. คลิกปุ่มแทรกแล้วเลือกชนิดของแผนภูมิที่ต้องการเช่น ถ้าใช้กราฟแท่ง
    เลือก Column ( คอลัมน์ )
3. เมื่อคลิกเลือกประเภทของกราฟแล้ว จะได้กราฟปรากฏบน เวิร์กชีต

5. ปรับแต่งกราฟ เช่นคำอธิบายสีกราฟ ( Legend ) ถ้าไม่ต้องการให้คลิกเลือกส่วนนั้น
     แล้วกด Delete 

เลือกใช้กราฟประเภทไหนดี




ใส่ภาพลงเวิร์กชีต Excel
          ใน Excel นั้นนอกเหนือจากข้อความ ตัวเลข และสูตรคำนวณที่ใส่ลงไปแล้ว คุณสามารถที่จะแทรกรูปภาพเข้ารมาประกอบเนื้อหา หรือใช้ตกแต่งเวิร์กชีตให้สวยงามเหมือนๆกับโปรแกรมอื่น 
การแทรกภาพจากแฟ้ม
1. คลิกในตำแหน่งที่จะแทรกรูปภาพ แล้วเลือก แทรก -> รูปภาพ
2. เปิดไปยังที่เก็บรูปภาพ และคลิกเลือกรูปภาพที่จะแทรก
3. คลิกปุ่ม Insert ( แทรก )
4. รูปภาพจะถูกวางลงในเวิร์กชีต จากนั้นเราก็มาปรับแต่งเพิ่มเติมได้ เช่น ย่อ/ขยาย
     ย้ายตำแหน่ง ปรับสี
1
การปรับแต่งรูปภาพ
การเคลื่อนย้ายรูปภาพ โดยการลากเมาส์ค้างไว้แล้วไปยังตำแหน่งที่ต้องการ
1
เปลี่ยนขนาดของภาพโดยใช้เมาส์
          สำหรับจุดวงกลมเล็กๆสีขาว ( handle ) รอบๆรูปนั้นมี 8 จุดด้วยกัน จะใช้ในการปรับขนาดของรูปโดยคลิกลากจุดด้านที่ต้องการปรับ หรือคลิกลากที่มุมของรูปหากจะปรับสองด้านพร้อมกันในสัดส่วนเดิม

1
การตัดภาพบางส่วน 
          ภาพที่ต้องการตัดออกบางส่วนเพื่อเน้นเฉพาะบางจุด หรือตัดรายละเอียดบางส่วนของภาพทิ้งไป อาจใช้วิธีที่เรียกว่า Cropping เพื่อปิดบางส่วนของภาพนั้นไม่ให้แสดง ซึ่งคล้ายกับการนำกระดาษมาวางปิดส่วนที่ไม่ต้องการแสดงไว้ หรือถ้าเกิดเปลี่ยนใจในภายหลังให้กลับมาแสดงทุกส่วนก็ทำได้

การหมุนรูปภาพ
          โดยปกติแต่ละภาพจะมีจุดปรับหมุนเพื่อให้ภาพไปอบู่ในมุมต่างๆได้ตามความเหมาะสม การหมุนภาพนั้นกระทำได้ง่ายโดยใช้เมาส์ลากที่จุดจับหมุน ซึ่งจะหมุนได้อย่างอิสระ
1
ปรับความสว่างให้ภาพ
         ภาพที่นำมาใส่ในเวิร์กชีตนั้น อาจมีจุดบกพร่องที่ยังไม่ได้แก้ไข เช่น มืดไป สว่างไป สามารถปรับแต่งได้อย่างง่ายดังนี้
การจัดลำดับภาพ 
ในกรณีที่นำรูปภาพมาวางหลายๆรูป ภาพที่วางก่อนจะอยู่ด้านล่างส่วนภาพที่วางทีหลังจะอยู่บนสุดทับรูปภาพอื่นๆที่วางก่อนหน้า แต่คุณสามารถจัดลำดับรูปภาพใหม่ได้ดังนี้
1. คลิกเลือกรูปภาพ
2. คลิกขวาที่ภาพ เลือกคำสั่ง Order ( ลำดับ )
Bring to Front ( นำไปไว้ข้างหน้าสุด )       รูปที่จะอยู่ด้านบนสุดของทุกๆรูปที่อยู่ในชั้นเดียวกัน
Send to Back ( ย้ายไปไว้ข้างหลังสุด )       รูปที่เลือกจะอยู่ด้านล่างสุดของทุกๆรูปที่อยู่ในชั้น
                                                                         เดียวกัน
Bring Forward (นำไปข้างหน้า )                 รูปที่เลือกจะเขยิบหรือเลื่อนขึ้นมาหนึ่งชั้นในระดับเดิม
Send Backward ( ย้ายไปข้างหลัง )             รูปที่เลือกจะเขยิบหรือเลื่อนลงไปหนึ่งขั้นใน
                                                                         ระดับชั้นเดิม